ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

ประวัติ ถาวร บุญสอน

ประวัตินักศึกษาฝึกสอน
คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

1. ชื่อ พระมหาถาวร ฉายา กลฺยาณเมธี นามสกุล บุญสอน
เกิดวัน จันทร์ ที่ 6 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2532 ที่ บ้านร่มเย็น เลขที่ 52 หมู่ 8 ตำบล กุดประทาย อำเภอ เดชอุดุม จังหวัด อุบลราชธานี
2. บิดาชื่อ นายพงษ์ศักดิ์ บุญสอน จบการศึกษาชั้น ป.4 เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
มารดาชื่อ นางหนูบาง บุญสอน จบการศึกษาชั้น ป.4 เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
3. มีพี่น้อง 2 คน เป็นบุตรคนที่ 2
4. การศึกษาพระปริยัติธรรม จบนักธรรมชั้น เอก เปรียญธรรม 4 ประโยค
การศึกษาสามัญ มัธยมศึกษาปีที่ 6 เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย
5. ปัจจุบันสังกัด แสงเกษม ตำบล เมืองเดช อำเภอ เดชอุดม
จังหวัด อุบลราชธานี 34160
6. บรรพชาเมื่อ อายุ 12 ปี วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2544 ณ วัดแสงเกษม
ตำบล เมืองเดช อำเภอ เดชอุดม จังหวัด อุบลราชธานี 34160
ชื่อพระอุปัชฌาย์ พระครูเกษมวิริยคุณ
7. อุปสมบทเมื่อ อายุ 20 ปี วันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2552 ณ วัดแสงเกษม ตำบล ตำบล เมืองเดช อำเภอ เดชอุดม จังหวัด อุบลราชธานี 34160
ชื่อพระอุปัชฌาย์ พระครูเกษมวิริยคุณ
8. สุขภาพพลานามัย
ก. นักศึกษาคิดว่าสุขภาพอนามัยเป็นอย่างไร
( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ไม่พอใช้
ข. โรคที่อาจเป็นอุปสรรคในการฝึกสอน
1. ไข้หวัด 2. เจ็บคอ 3. ปวดศีรษะ
9. นักศึกษาใช้เวลาว่างทำอะไร (เรียงจากมากไปหาน้อย)
1. ศึกษาข้อมูลต่างๆ ทางอินเตอร์เน็ต
2. อ่านหนังสือ
3. ดู TV / ฟังวิทยุ
9. กิจกรรมนอกหลักสูตรที่มีส่วนร่วมขณะที่อยู่ในมหาวิทยาลัย
1. เป็นพระธรรมวิทยากร
2. เป็นครูพระสอนศีลธรรมที่โรงเรียน
3. เป็นคณะกรรมการนักศึกษา
4. เป็นพระธรรมวิทยากร ในงานวันสำคัญต่าง ๆ ทางพระพุทธศาสนา
ของมหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย
10. วิชาอะไรที่ชอบเมื่อเรียนในมหาวิทยาลัย
1. อังกฤษ
2. จิตวิทยา
3. กฎหมายการศึกษา
4. วิชาทั่วไป
11. คติประจำใจ : อดีตผ่านไปแล้ว อนาคตยังมาไม่ถึง ทำปัจจุบันให้ดีที่สุด




ลงชื่อ.....................................................(นักศึกษา)
           (พระมหาถาวร กลฺยาณเมธี)

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

พระประจำวันเกิด ภาษาอังกฤษ english version

วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย

การศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมเรื่องคู่มือมนุษย์ของพุทธทาสภิกขุ THE ANLYTICAL STUDY OF THE VENERABLE BUDDHADASA’S THE LITERARY WORK OF HANDBOOK FOR MANKIND BUDDHADASA BHIKKHU โดย พระประสิทธิ์ ปภาธโร ๑.๑ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย มีที่ปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกในสมัยสุโขทัย เมื่อครั้งพ่อขุนรามมหาราชโปรดให้จารึกบนแผ่นศิลา ซึ่งเรียกกันว่า “ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง” ซึ่งมีเรื่องราวทางพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวข้องกับศาสนธรรม ศาสนประวัติ ศาสนพิธี ศาสนวัตถุแทรกอยู่ และต่อจากนั้นมาก็มีวรรณกรรมทางศาสนาติดต่อกันมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงสมัยอยุธยา วรรณกรรมที่สำคัญในสมัยอยุธยาตอนต้นส่วนใหญ่มีเรื่องเกี่ยวกับศาสนพิธีกรรมและพระมหากษัตริย์ จึงมีเนื้อเรื่องคล้ายวรรณกรรมสุโขทัย ส่วนลักษณะการแต่งแตกต่างกับวรรณกรรมสุโขทัยเป็นอย่างมาก วรรณกรรมในสมัยนี้แต่งด้วยร้อยกรองทั้งสิ้นคำประพันธ์ที่ใช้เกือบทุกชนิด คือ โคลง ร่าย กาพย์ และฉันท์ ขาดแต่กลอนส่วนใหญ่แต่งเป็นลิลิต คำบาลี สันสกฤตและเขมรเข้ามาปะปนในคำไทยมากขึ้นวรรณกรรมที่สำคัญในสมัยอยุธยาตอนต้น มีเรื่อ

แปลหนังสือสุทธิ english version

หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะมีประโยชน์ต่อหลายๆท่าน