ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

หลักการบริหารงานบุคคล



หลักการบริหารงานบุคคลตามระบบคุณธรรม

  1. หลักความสามารถ  (Competence)
  2. หลักความเสมอภาค  (Equality)
  3. หลักความมั่นคง (Security)
  4. หลักความเป็นกลางทางการเมือง  (Political meutrality)

หลักความสามารถ  (Competence)
u ยึดหลักความรู้ความสามารถของบุคคลเป็นสำคัญ
u พยายามหาทางคัดเลือกให้ได้ผู้มีความรู้ความสามารถเหมาะสมกับตำแหน่ง
u ให้ผู้มีความรู้ความสามารถมาสมัครให้มากที่สุด
u หาวิธีการที่เหมาะสมมาทำการคัดเลือก
u การโยกย้าย การเลื่อนตำแหน่ง ต้องคำนึงถึง หลักความสามารถของบุคคลเป็นสำคัญ

หลักความเสมอภาค (Equality)
u เปิดโอกาสให้ผู้มีคุณสมบัติทุกคน (Open to all)
u ให้โอกาสแก่ผู้มีสิทธิ์อย่างเท่าเทียมกัน  (Equality of opportunity)
u หน้าที่ความรับผิดชอบอย่างเดียวกันได้รับค่าตอบแทนเท่ากัน (Equal pay for equal work)
u ได้รับการปฏิบัติอย่างเสมอหน้ากันด้วยระเบียบของมาตรฐานในการบริหารงานบุคคลอย่างเดียวกัน

หลักความมั่นคง (Security)
u มีความมั่นคงในชีวิตทั้งในเรื่องเงินเดือน สวัสดิการ และประโยชน์เกื้อกูลอื่น ๆ
u ประกันมิให้ถูกกลั่นแกล้ง หรือถูกออกจากราชการ โดยไม่มีความผิด

หลักความเป็นกลางทางการเมือง (Political neutrality)
u ข้าราชการประจำต้องปฏิบัติตามนโยบายของรัฐบาลอย่างเต็มความสามารถ
u ต้องไม่กระทำตนให้ตกอยู่ภายใต้อาณัติหรืออิทธิพลของพรรคการเมือง

แนวคิดการปรับปรุงร่าง พ.ร.บ.ข้าราชการพลเรือน
u หลักคุณธรรม  เน้นที่
v  ความสามารถ
v  ความเสมอภาค
v  ความเป็นธรรม โปร่งใส ตรวจสอบได้
v  ให้โอกาสทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน
u หลักความรู้ความสามารถที่จำเป็นเหมาะสมกับการปฏิบัติหน้าที่ราชการ
u หลักผลงาน
                  มีการให้คุณให้โทษโดยพัฒนาจากผลการปฏิบัติงาน เป็นสำคัญ
u หลักการกระจายอำนาจ
                  สร้างความเข้มแข็งให้ส่วนราชการในการปฏิบัติงาน
u หลักความสมดุลระหว่างคุณภาพชีวิตและการทำงาน

การบริหารงานบุคคล
  1. การวางนโยบาย ออกกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับเกี่ยวกับตัวบุคคล
  2. การวางแผนกำลังคน
v การวางแผนความต้องการกำลังคน
v การวางแผนเพื่อให้ได้มาซึ่งกำลังคนที่ต้องการ
v การวางแผนใช้กำลังคน
  1. การออกแบบงานและการวิเคราะห์งาน
  2. การสรรหาพนักงาน (บุคคล)
  3. การปฐมนิเทศพนักงาน
  4. การพัฒนาบุคคล
  5. การประเมินผลการปฏิบัติงานและการเลื่อนตำแหน่ง
  6. การเสริมสร้างและการรักษาวินัยในการปฏิบัติงาน

การรักษาวินัย
1.      ระวัง การเอาใจใส่ละเลยการปฏิบัติตามวินัย
2.      ดูแล การสอดส่องกำกับตรวจตรา
3.      ป้องกัน กระทำในทางที่จะขจัดเหตุที่ทำให้ข้าราชการกระทำผิดวินัย และปกป้องคุ้มกันข้าราชการให้พ้นจากเหตุที่ทำให้กระทำผิดวินัย
4.      เยียวยา การแก้ไขและบำรุงหรือส่งเสริมให้มีวินัยดีขึ้น

การรักษาวินัยของข้าราชการ
  1. การที่ข้าราชการแต่ละคนปฏิบัติตามข้อปฏิบัติทางวินัย
  2. การที่ผู้บังคับบัญชาส่งเสริมให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชามีวินัย
  3. การที่ผู้บังคับบัญชาดูแลระมัดระวังป้องกันมิให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชากระทำผิดวินัย
  4. การดำเนินการทางวินัยแก่ข้าราชการผู้กระทำผิด




ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

พระประจำวันเกิด ภาษาอังกฤษ english version

วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย

การศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมเรื่องคู่มือมนุษย์ของพุทธทาสภิกขุ THE ANLYTICAL STUDY OF THE VENERABLE BUDDHADASA’S THE LITERARY WORK OF HANDBOOK FOR MANKIND BUDDHADASA BHIKKHU โดย พระประสิทธิ์ ปภาธโร ๑.๑ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย มีที่ปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกในสมัยสุโขทัย เมื่อครั้งพ่อขุนรามมหาราชโปรดให้จารึกบนแผ่นศิลา ซึ่งเรียกกันว่า “ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง” ซึ่งมีเรื่องราวทางพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวข้องกับศาสนธรรม ศาสนประวัติ ศาสนพิธี ศาสนวัตถุแทรกอยู่ และต่อจากนั้นมาก็มีวรรณกรรมทางศาสนาติดต่อกันมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงสมัยอยุธยา วรรณกรรมที่สำคัญในสมัยอยุธยาตอนต้นส่วนใหญ่มีเรื่องเกี่ยวกับศาสนพิธีกรรมและพระมหากษัตริย์ จึงมีเนื้อเรื่องคล้ายวรรณกรรมสุโขทัย ส่วนลักษณะการแต่งแตกต่างกับวรรณกรรมสุโขทัยเป็นอย่างมาก วรรณกรรมในสมัยนี้แต่งด้วยร้อยกรองทั้งสิ้นคำประพันธ์ที่ใช้เกือบทุกชนิด คือ โคลง ร่าย กาพย์ และฉันท์ ขาดแต่กลอนส่วนใหญ่แต่งเป็นลิลิต คำบาลี สันสกฤตและเขมรเข้ามาปะปนในคำไทยมากขึ้นวรรณกรรมที่สำคัญในสมัยอยุธยาตอนต้น มีเรื่อ

แปลหนังสือสุทธิ english version

หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะมีประโยชน์ต่อหลายๆท่าน